จรรยาบรรณวิชาชีพของผู้ทำบัญชีที่ปฏิบัติงานในสำนักงานบัญชีในเขตกรุงเทพมหานครต่อการจัดทำบัญชีและนำเสนองบการเงินที่อยู่นอกตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
- เกี่ยวกับงานวิจัย
- การส่งบทความ
- กำหนดการ
- ประกาศผล
- คณะกรรมการ
- เอกสารที่ผ่านมา
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่เป็นอิทธิพลทางตรงและอิทธิพลทางอ้อมของประสิทธิผลทางการวินิจฉัยในการสอบบัญชีและประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานสอบบัญชีที่มีต่อคุณภาพการรายงานการสอบบัญชีและผลสำเร็จทางการสอบบัญชี เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สำรวจความคิดเห็นของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตในประเทศไทย ที่มีการรับรองงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีปี 2556 จำนวน 550 ราย (ฐานข้อมูลของสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2557) แบบสอบถามได้รับการตอบกลับและใช้ในการวิเคราะห์จำนวน 225 ชุด
ผลการวิจัยพบว่า เมื่อพิจารณาตัวแปรผลสำเร็จทางการสอบบัญชีเป็นตัวแปรตาม ปัจจัยที่มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกมากที่สุด ได้แก่ ตัวแปรคุณภาพการรายงานการสอบบัญชี รองลงมาคือ ตัวแปรประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานสอบบัญชี และตัวแปรประสิทธิผลทางการวินิจฉัยในการสอบบัญชีตามลำดับอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และผลการวิจัยยังพบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลทางอ้อมเชิงบวกมากที่สุด ได้แก่ ตัวแปรประสิทธิผลทางการวินิจฉัยในการสอบบัญชี มีอิทธิพลทางอ้อมต่อตัวแปรผลสำเร็จทางการสอบบัญชี โดยส่งผ่านตัวแปรคุณภาพการรายงานการสอบบัญชี รองลงมาคือ ตัวแปรประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานสอบบัญชี มีอิทธิพลทางอ้อมต่อตัวแปรผลสำเร็จทางการสอบบัญชี โดยส่งผ่านตัวแปรคุณภาพการรายงานการสอบบัญชี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุตามทฤษฎีมีความสอดคล้องกลมกลืนเหมาะสมพอดีกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจากค่าสถิติไค-สแควร์ (Chi-Square) เท่ากับ 0.00 ที่องศาอิสระ (df) เท่ากับ 0 ค่าความน่าจะเป็น (P-value) เท่ากับ 1.00000 ค่าดัชนีรากที่สองของความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่า (Root Mean Square Error of Approximation: RMSEA) เท่ากับ 0.000
ขั้นตอนส่งบทความ
การส่งบทคัดย่อ (Abstract Submission)ปิดรับบทคัดย่อ ตั้งแต่บัดนี้ – 30 พฤษภาคม 2565 บทคัดย่อ ภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ มีความยาวไม่เกิน 250 คำ จัดพิมพ์ตามแบบฟอร์มที่กำหนด ลำดับในการเขียนบทคัดย่อ ชื่อเรื่อง (Title) ชื่อผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย (ถ้าผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย มาจากหลายหน่วยงาน ให้กำกับตัวเลข 1, 2, 3 เป็นตัวยกไว้ท้ายนามสกุลของผู้นั้น) สถาบันการศึกษา/สถานที่ทำงาน (ถ้าผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย มาจากหลายหน่วยงาน ให้กำกับตัวเลข 1, 2, 3 เป็นตัวยกไว้หน้าชื่อของหน่วยงานนั้น) เนื้อความบทคัดย่อ ประกอบด้วย ความเป็นมาและเหตุผล (Background), วิธีการ (Methods), ผลการดำเนินการ (Results) และสรุป (Conclusions) กำหนดให้ระบุคำสำคัญ (Keywords) ของเนื้อหาบทคัดย่อ ไม่ต่ำกว่า 3 คำ และไม่เกิน 10 คำ
การส่งบทความฉบับเต็ม (Full Paper Submission)เปิดรับบทความฉบับเต็ม ตั้งแต่บัดนี้ – 30 พฤษภาคม 2565 บทความต้องมีความยาว 10 – 12 หน้ากระดาษ A4 จัดทำตามรูปแบบการเขียนบทความวิจัย ที่กำหนดไว้ ส่งบทความฉบับเต็มในรูปแบบไฟล์ Microsoft Word ทั้งนี้บทความที่ไม่เป็นไปตามรูปแบบที่กำหนดจะไม่ได้รับการพิจารณา ลำดับในการเขียนบทความฉบับเต็ม ชื่อเรื่อง (Title) ภาษาไทย - อังกฤษ ขนาด 18pt กำหนดกลางหน้ากระดาษตัวหนา ควรให้มีความกระชับให้มากที่สุด ชื่อผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย (ถ้าผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย มาจากหลายหน่วยงาน ให้กำกับตัวเลข 1, 2, 3 เป็นตัวยกไว้ท้ายนามสกุลของผู้นั้น) ชื่อ-ที่อยู่และประวัติผู้เขียนภาษาไทย – อังกฤษ ขนาด 14pt ประกอบด้วยชื่อผู้เขียน / ตำแหน่งงาน / หน่วยงานที่สังกัด / ชื่อสถาบัน / e-mail ถ้าผู้เขียนเป็นชาวต่างชาติให้นำนามสกุลขึ้นก่อนชื่อต้น บทคัดย่อ (Abstract) ประกอบด้วย ความเป็นมาและเหตุผล (Background), วิธีการ (Methods), ผลการดำเนินการ (Results) และสรุป (Conclusions) กำหนดให้ระบุคำสำคัญ (Keywords) ของเนื้อหาบทคัดย่อ ไม่ต่ำกว่า 3 คำ และไม่เกิน 10 คำ บทความ (Body) ประกอบด้วย บทนำ วัตถุประสงค์การวิจัย อุปกรณ์และวิธีการดำเนินงานวิจัย สรุปและอภิปรายผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ เอกสารอ้างอิง (ใช้รูปแบบ APA และผ่านการตรวจข้อผิดพลาดในข้อความ และจากการพิมพ์) ขอบข่ายการนำเสนอบทความฉบับเต็ม การนำเสนอบทความวิจัย วิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จะต้องเป็นการนำเสนอผลงานที่ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว และไม่เคยตีพิมพ์หรือได้รับการเผยแพร่มาก่อน
กำหนดการวันสำคัญ
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ร่วมกับ Health Education & Academics Thailand (HEAT Antiaging) เครือข่ายวิจัยประชาชื่น สมาพันธ์สมาคมสปาแอนด์เวลเนสไทย และชมรมโภชนวิทยามหิดล ได้เล็งเห็นความสําคัญในการส่งเสริมพัฒนาความรู้ทางวิชาการทางการแพทย์ และการดูแลสุขภาพ รวมทั้งการให้ความสําคัญกับการพัฒนาคุณภาพของบุคลากรในวิชาชีพ ทั้งในด้านความรู้ทางวิชาชีพ ตลอดจนศักยภาพด้านอื่น ๆ ที่จําเป็นในการปฏิบัติงานที่ดีและเพื่อให้การเผยแพร่ ความรู้เป็นไปอย่างทั่วถึง จึงเห็นควรจัดการประชุมวิชาการเพื่อเผยแพร่ความรู้ความก้าวหน้า ในศาสตร์ทางการแพทย์ การดูแลสุขภาพ และศาสตร์การสร้างนโยบาย การบริหารและการจัดการ รวมทั้งเพื่อสร้างโอกาสที่จะได้แลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์ของแพทย์ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย อาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรทางการแพทย์ อันจะก่อให้เกิดการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในอนาคต
การประกาศผลการพิจารณาบทคัดย่อ/บทความฉบับเต็ม
จะแจ้งผลการพิจารณาให้ทราบภายในวันที่ 10 มิถุนายน 2565 หากท่านยังไม่ได้รับการตอบกลับภายในวันเวลาดังกล่าว โปรดติดต่อคณะกรรมการทาง [email protected]
หมายเหตุ : บทความที่ได้รับการคัดเลือกอยู่ในระดับดีมากจะได้รับเงินรางวัล 12,000 บาท และ ระดับดี (เกรด B) จะได้เงินรางวัล 5,000 บาท
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ร่วมกับ Health Education & Academics Thailand (HEAT Antiaging) เครือข่ายวิจัยประชาชื่น สมาพันธ์สมาคมสปาแอนด์เวลเนสไทย และชมรมโภชนวิทยามหิดล ได้เล็งเห็นความสําคัญในการส่งเสริมพัฒนาความรู้ทางวิชาการทางการแพทย์ และการดูแลสุขภาพ รวมทั้งการให้ความสําคัญกับการพัฒนาคุณภาพของบุคลากรในวิชาชีพ ทั้งในด้านความรู้ทางวิชาชีพ ตลอดจนศักยภาพด้านอื่น ๆ ที่จําเป็นในการปฏิบัติงานที่ดีและเพื่อให้การเผยแพร่ ความรู้เป็นไปอย่างทั่วถึง จึงเห็นควรจัดการประชุมวิชาการเพื่อเผยแพร่ความรู้ความก้าวหน้า ในศาสตร์ทางการแพทย์ การดูแลสุขภาพ และศาสตร์การสร้างนโยบาย การบริหารและการจัดการ รวมทั้งเพื่อสร้างโอกาสที่จะได้แลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์ของแพทย์ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย อาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรทางการแพทย์ อันจะก่อให้เกิดการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในอนาคต
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ร่วมกับ Health Education & Academics Thailand (HEAT Antiaging) เครือข่ายวิจัยประชาชื่น สมาพันธ์สมาคมสปาแอนด์เวลเนสไทย และชมรมโภชนวิทยามหิดล ได้เล็งเห็นความสําคัญในการส่งเสริมพัฒนาความรู้ทางวิชาการทางการแพทย์ และการดูแลสุขภาพ รวมทั้งการให้ความสําคัญกับการพัฒนาคุณภาพของบุคลากรในวิชาชีพ ทั้งในด้านความรู้ทางวิชาชีพ ตลอดจนศักยภาพด้านอื่น ๆ ที่จําเป็นในการปฏิบัติงานที่ดีและเพื่อให้การเผยแพร่ ความรู้เป็นไปอย่างทั่วถึง จึงเห็นควรจัดการประชุมวิชาการเพื่อเผยแพร่ความรู้ความก้าวหน้า ในศาสตร์ทางการแพทย์ การดูแลสุขภาพ และศาสตร์การสร้างนโยบาย การบริหารและการจัดการ รวมทั้งเพื่อสร้างโอกาสที่จะได้แลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์ของแพทย์ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย อาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรทางการแพทย์ อันจะก่อให้เกิดการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในอนาคต
คณะกรรมการ
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ร่วมกับ Health Education & Academics Thailand (HEAT Antiaging) เครือข่ายวิจัยประชาชื่น สมาพันธ์สมาคมสปาแอนด์เวลเนสไทย และชมรมโภชนวิทยามหิดล ได้เล็งเห็นความสําคัญในการส่งเสริมพัฒนาความรู้ทางวิชาการทางการแพทย์ และการดูแลสุขภาพ รวมทั้งการให้ความสําคัญกับการพัฒนาคุณภาพของบุคลากรในวิชาชีพ ทั้งในด้านความรู้ทางวิชาชีพ ตลอดจนศักยภาพด้านอื่น ๆ ที่จําเป็นในการปฏิบัติงานที่ดีและเพื่อให้การเผยแพร่ ความรู้เป็นไปอย่างทั่วถึง จึงเห็นควรจัดการประชุมวิชาการเพื่อเผยแพร่ความรู้ความก้าวหน้า ในศาสตร์ทางการแพทย์ การดูแลสุขภาพ และศาสตร์การสร้างนโยบาย การบริหารและการจัดการ รวมทั้งเพื่อสร้างโอกาสที่จะได้แลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์ของแพทย์ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย อาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรทางการแพทย์ อันจะก่อให้เกิดการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในอนาคต
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ร่วมกับ Health Education & Academics Thailand (HEAT Antiaging) เครือข่ายวิจัยประชาชื่น สมาพันธ์สมาคมสปาแอนด์เวลเนสไทย และชมรมโภชนวิทยามหิดล ได้เล็งเห็นความสําคัญในการส่งเสริมพัฒนาความรู้ทางวิชาการทางการแพทย์ และการดูแลสุขภาพ รวมทั้งการให้ความสําคัญกับการพัฒนาคุณภาพของบุคลากรในวิชาชีพ ทั้งในด้านความรู้ทางวิชาชีพ ตลอดจนศักยภาพด้านอื่น ๆ ที่จําเป็นในการปฏิบัติงานที่ดีและเพื่อให้การเผยแพร่ ความรู้เป็นไปอย่างทั่วถึง จึงเห็นควรจัดการประชุมวิชาการเพื่อเผยแพร่ความรู้ความก้าวหน้า ในศาสตร์ทางการแพทย์ การดูแลสุขภาพ และศาสตร์การสร้างนโยบาย การบริหารและการจัดการ รวมทั้งเพื่อสร้างโอกาสที่จะได้แลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์ของแพทย์ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย อาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรทางการแพทย์ อันจะก่อให้เกิดการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในอนาคต